ไตสำคัญกับร่างกายอย่างไร
"ไต" มีรูปร่างคล้ายเมล็ดถั่ว ขนาดเท่ากำปั้นคนปกติ มี ๒ ข้าง อยู่ด้านหลังช่องท้องข้างละ ๑ อัน ไตทำหน้าที่เกี่ยวกับการขับถ่ายของเสียออกจากร่างกาย ผ่านทางปัสสาวะ รักษาสมดุลของน้ำ เกลือแร่ และสมดุลกรด-ด่างในร่างกาย สร้างฮอร์โมน เช่น ฮอร์โมนที่ช่วยควบคุมสมดุล แคลเซียม และฟอสเฟต (คือ วิตามินดี นั่นเอง) และฮอร์โมนกระตุ้นไขกระดูกให้สร้างเม็ดเลือดแดง
"ไต" มีรูปร่างคล้ายเมล็ดถั่ว ขนาดเท่ากำปั้นคนปกติ มี ๒ ข้าง อยู่ด้านหลังช่องท้องข้างละ ๑ อัน ไตทำหน้าที่เกี่ยวกับการขับถ่ายของเสียออกจากร่างกาย ผ่านทางปัสสาวะ รักษาสมดุลของน้ำ เกลือแร่ และสมดุลกรด-ด่างในร่างกาย สร้างฮอร์โมน เช่น ฮอร์โมนที่ช่วยควบคุมสมดุล แคลเซียม และฟอสเฟต (คือ วิตามินดี นั่นเอง) และฮอร์โมนกระตุ้นไขกระดูกให้สร้างเม็ดเลือดแดง
ไตเสื่อมตามธรรมชาติเป็นอย่างไร
ปกติไตของเราจะเริ่มถดถอย เสื่อมตามธรรมชาติได้ร้อยละ ๑ ต่อปี นับตั้งแต่อายุ ๓๕ ปีเป็นต้นไป ถือว่าเป็นโรคหรือไม่ ตอบว่าไม่เป็นโรค แต่เป็นการเสื่อมตามวัย
เวลามองโรคไตเสื่อมไม่ได้หมายความว่า ไตทั้งอันเสื่อม แต่หน่วยเล็กๆบางส่วนเริ่มเสื่อม บางส่วนอาจจะเสื่อมนิดหน่อย บางส่วนเสื่อมสภาพไปเลย แต่ว่าสภาพการทำงานของไต ทั้งหมดยังพอใช้ได้ ปกติคนอายุ ๘๐ ปี สภาพการทำงานของไตจะลดลงเหลือประมาณครึ่งหนึ่ง รวมทั้งอวัยวะอื่นๆก็เสื่อมไปตามวัยด้วยเช่นกัน การเสื่อมของไต ไม่ใช่เสื่อมเพียงข้างเดียว และมีอีกข้างหนึ่งดี แต่จะเสื่อมไปพร้อมๆกันทั้ง ๒ ข้าง คนเรามีไตอยู่ ๒ ข้าง ถ้าไตบกพร่องไป หรือถูกตัดไปข้างหนึ่ง ไตข้างที่เหลือ ยังพอทำหน้าที่แทนได้ ต่อเมื่อไตเสียไป ๒ ข้าง แล้วจึงมีอาการของโรคไตวายเรื้อรังตามมา
ปกติไตของเราจะเริ่มถดถอย เสื่อมตามธรรมชาติได้ร้อยละ ๑ ต่อปี นับตั้งแต่อายุ ๓๕ ปีเป็นต้นไป ถือว่าเป็นโรคหรือไม่ ตอบว่าไม่เป็นโรค แต่เป็นการเสื่อมตามวัย
เวลามองโรคไตเสื่อมไม่ได้หมายความว่า ไตทั้งอันเสื่อม แต่หน่วยเล็กๆบางส่วนเริ่มเสื่อม บางส่วนอาจจะเสื่อมนิดหน่อย บางส่วนเสื่อมสภาพไปเลย แต่ว่าสภาพการทำงานของไต ทั้งหมดยังพอใช้ได้ ปกติคนอายุ ๘๐ ปี สภาพการทำงานของไตจะลดลงเหลือประมาณครึ่งหนึ่ง รวมทั้งอวัยวะอื่นๆก็เสื่อมไปตามวัยด้วยเช่นกัน การเสื่อมของไต ไม่ใช่เสื่อมเพียงข้างเดียว และมีอีกข้างหนึ่งดี แต่จะเสื่อมไปพร้อมๆกันทั้ง ๒ ข้าง คนเรามีไตอยู่ ๒ ข้าง ถ้าไตบกพร่องไป หรือถูกตัดไปข้างหนึ่ง ไตข้างที่เหลือ ยังพอทำหน้าที่แทนได้ ต่อเมื่อไตเสียไป ๒ ข้าง แล้วจึงมีอาการของโรคไตวายเรื้อรังตามมา
โรคใดเป็นสาเหตุหลักที่โดดเด่นมาก
สาเหตุหลักของโรคไตวาย คือ เบาหวาน และความดันเลือดสูง
สาเหตุหลักของโรคไตวาย คือ เบาหวาน และความดันเลือดสูง
โรคความดันเลือดสูง พบได้ ร้อยละ ๕ - ๑๐ (โอกาสเกิดโรคจะสูงขึ้นตามอายุ คือ
ตั้งแต่ ๓๕ ปีขึ้นไป) ถ้าคำนวณจากคนไทย ๖๐ ล้านคน จะมีผู้ป่วยความดันสูง ๓-๖
ล้านคน ผู้ป่วยความดันสูง ร้อยละ ๑๐ จะมีโรคไตวายแทรกซ้อน คือ ๓๐๐,๐๐๐-๖๐๐,๐๐๐ คน
โรคเบาหวาน พบได้ร้อยละ ๔ ถ้าคำนวณจากคนไทย ๖๐ ล้านคน จะมีผูป่วยเบาหวานทั้งสิ้น ๒.๔ ล้านคน ผู้ป่วยเบาหวานร้อยละ ๓๐ จะมีโรคไตเรื้อรังแทรกซ้อน คือ ๗๒๐,๐๐๐ คน ดังนั้นเมื่อรวมตัวเลข คาดว่าจะมีผู้ที่เป็นโรคไตวายจากทั้ง ๒ โรคนี้ สูงถึง ๑ ล้านคน มีข้อเท็จจริงประการหนึ่ง คือ โอกาสที่คนไทยจะเป็นโรคไตเรื้อรังระยะสุดท้ายนั้น สูงถึง ๑,๐๐๐ คน ต่อประชากร ๑ ล้านคน โดยเฉพาะคนที่มีอายุมากกว่า ๕๐ ปี และมีโรคประจำตัว อยู่ในกลุ่มเสี่ยงเรียกได้ว่า โรคไตเรื้อรังใกล้ชิดกับคนไทยมาก
โรคเบาหวาน พบได้ร้อยละ ๔ ถ้าคำนวณจากคนไทย ๖๐ ล้านคน จะมีผูป่วยเบาหวานทั้งสิ้น ๒.๔ ล้านคน ผู้ป่วยเบาหวานร้อยละ ๓๐ จะมีโรคไตเรื้อรังแทรกซ้อน คือ ๗๒๐,๐๐๐ คน ดังนั้นเมื่อรวมตัวเลข คาดว่าจะมีผู้ที่เป็นโรคไตวายจากทั้ง ๒ โรคนี้ สูงถึง ๑ ล้านคน มีข้อเท็จจริงประการหนึ่ง คือ โอกาสที่คนไทยจะเป็นโรคไตเรื้อรังระยะสุดท้ายนั้น สูงถึง ๑,๐๐๐ คน ต่อประชากร ๑ ล้านคน โดยเฉพาะคนที่มีอายุมากกว่า ๕๐ ปี และมีโรคประจำตัว อยู่ในกลุ่มเสี่ยงเรียกได้ว่า โรคไตเรื้อรังใกล้ชิดกับคนไทยมาก
หลังจากได้รับการวินิจฉัยแล้วว่าเป็นโรคไตเรื้อรัง
ผู้ป่วยแต่ละรายจะมีอัตราการเสื่อมหน้าที่ของไตแตกต่างกันไป
บางรายการเสื่อมของไตเกิดขึ้นอย่างช้าๆนานหลายปี
บางรายอาจมีการเสื่อมของไตอย่างรวดเร็วจนต้องเข้ารับการรักษาโดยการบำบัดทดแทนไตในเวลาน้อยกว่า ๑ ปี ปัจจัยสำคัญที่ทำให้การดำเนินของโรคไตเรื้อรังเลวร้าย ได้แก่
ชนิดของไตที่เป็นสาเหตุ
นับว่าเป็นปัจจัยสำคัญอย่างหนึ่งของการดำเนินโรคของไตเรื้อรัง เพราะโรคไตเรื้อรังบางอย่างอาจมีการดำเนินของโรคอย่างช้าๆ เช่น โรคไตที่เกิดจากถุงน้ำในไตหรือโรคเนื้อเยื่อไตและหลอดไตฝอยอักเสบเรื้อรัง ในทางตรงกันข้าม โรคไตเรื้อรังบางชนิดทำให้การทำงานของไตเสื่อมไปอย่างรวดเร็ว เช่น โรคไตที่เกิดจากโรคหลอดเลือดฝอยไตอักเสบเรื้อรัง โรคไตจากเบาหวาน เป็นต้น
ความดันเลือดสูง ภาวะความดันสูง เป็นตัวเร่งสำคัญที่ทำให้ไตเสื่อมสภาพอย่างรวดเร็ว การควบคุมความดันเลือดในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังจึงสำคัญที่สุดที่จะช่วยชะลอการเสื่อมของไต
ความดันเลือดควรอยู่ในระดับประมาณ ๑๑๐-๑๒๕/๗๐-๗๕ มม.ปรอท นอกจากนี้ การกินยาลดความดันเลือดบางชนิดอาจช่วยชะลอการเสื่อมของไตได้ดี ดังนั้นการกินยาลดความดันเลือดอย่างสม่ำเสมอจึงมีความสำคัญต่อการชะลอความเสื่อมของไตเรื้อรังได้
ระดับโปรตีนในปัสสาวะ ปัจจุบันพบว่า การปล่อยให้ระดับโปรตีนในปัสสาวะสูงเป็นเวลานานๆ เป็นตัวเร่งสำคัญที่ทำให้ไตเสื่อมหน้าที่เร็วกว่าที่ควร ยิ่งมีโปรตีนรั่วทางปัสสาวะมาก ไตยิ่งเสื่อมเร็วขึ้น
การกินอาหาร การกินอาหารที่มีโปรตีนสูง เช่น เนื้อสัตว์ ถั่ว เป็นต้น ในปริมาณมากต่อวัน เป็นอีกปัจจัยหนึ่งที่ทำให้ไตเสื่อมลงได้เร็ว แต่ในทางกลับกัน การได้กินอาหารโปรตีนต่ำเกินไป อาจทำให้ผู้ป่วยไตเรื้อรังขาดอาหารได้ และร่างกายอยู่ในสภาพขาดอาหาร โดยทั่วไป ผู้ป่วยมีแนวโน้มที่จะกินสารอาหารโปรตีนเกินเกณฑ์ขั้นต่ำอยู่แล้ว (มีแต่จะมากเกิน การจำกัดจนถึงระดับขาดสารอาหารหมักไม่เกิดขึ้น)
การกินยา ยาที่แพทย์สั่งให้ผู้ป่วยไตเรื้อรังมีหลายชนิด บางชนิดช่วยให้ไตเสื่อมช้าลง ผู้ป่วยควรกินตามแพทย์สั่งสม่ำเสมอ ควรหลีกเลี่ยงการซื้อยามากินเอง เพราะมียาอีกหลายชนิดที่อาจทำให้การทำงานของไตเสื่อมลงอย่างรวดเร็ว ควรปรึกษาแพทย์ผู้เชี่ยวชาญก่อนกินยาใหม่
บางรายอาจมีการเสื่อมของไตอย่างรวดเร็วจนต้องเข้ารับการรักษาโดยการบำบัดทดแทนไตในเวลาน้อยกว่า ๑ ปี ปัจจัยสำคัญที่ทำให้การดำเนินของโรคไตเรื้อรังเลวร้าย ได้แก่
ชนิดของไตที่เป็นสาเหตุ
นับว่าเป็นปัจจัยสำคัญอย่างหนึ่งของการดำเนินโรคของไตเรื้อรัง เพราะโรคไตเรื้อรังบางอย่างอาจมีการดำเนินของโรคอย่างช้าๆ เช่น โรคไตที่เกิดจากถุงน้ำในไตหรือโรคเนื้อเยื่อไตและหลอดไตฝอยอักเสบเรื้อรัง ในทางตรงกันข้าม โรคไตเรื้อรังบางชนิดทำให้การทำงานของไตเสื่อมไปอย่างรวดเร็ว เช่น โรคไตที่เกิดจากโรคหลอดเลือดฝอยไตอักเสบเรื้อรัง โรคไตจากเบาหวาน เป็นต้น
ความดันเลือดสูง ภาวะความดันสูง เป็นตัวเร่งสำคัญที่ทำให้ไตเสื่อมสภาพอย่างรวดเร็ว การควบคุมความดันเลือดในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังจึงสำคัญที่สุดที่จะช่วยชะลอการเสื่อมของไต
ความดันเลือดควรอยู่ในระดับประมาณ ๑๑๐-๑๒๕/๗๐-๗๕ มม.ปรอท นอกจากนี้ การกินยาลดความดันเลือดบางชนิดอาจช่วยชะลอการเสื่อมของไตได้ดี ดังนั้นการกินยาลดความดันเลือดอย่างสม่ำเสมอจึงมีความสำคัญต่อการชะลอความเสื่อมของไตเรื้อรังได้
ระดับโปรตีนในปัสสาวะ ปัจจุบันพบว่า การปล่อยให้ระดับโปรตีนในปัสสาวะสูงเป็นเวลานานๆ เป็นตัวเร่งสำคัญที่ทำให้ไตเสื่อมหน้าที่เร็วกว่าที่ควร ยิ่งมีโปรตีนรั่วทางปัสสาวะมาก ไตยิ่งเสื่อมเร็วขึ้น
การกินอาหาร การกินอาหารที่มีโปรตีนสูง เช่น เนื้อสัตว์ ถั่ว เป็นต้น ในปริมาณมากต่อวัน เป็นอีกปัจจัยหนึ่งที่ทำให้ไตเสื่อมลงได้เร็ว แต่ในทางกลับกัน การได้กินอาหารโปรตีนต่ำเกินไป อาจทำให้ผู้ป่วยไตเรื้อรังขาดอาหารได้ และร่างกายอยู่ในสภาพขาดอาหาร โดยทั่วไป ผู้ป่วยมีแนวโน้มที่จะกินสารอาหารโปรตีนเกินเกณฑ์ขั้นต่ำอยู่แล้ว (มีแต่จะมากเกิน การจำกัดจนถึงระดับขาดสารอาหารหมักไม่เกิดขึ้น)
การกินยา ยาที่แพทย์สั่งให้ผู้ป่วยไตเรื้อรังมีหลายชนิด บางชนิดช่วยให้ไตเสื่อมช้าลง ผู้ป่วยควรกินตามแพทย์สั่งสม่ำเสมอ ควรหลีกเลี่ยงการซื้อยามากินเอง เพราะมียาอีกหลายชนิดที่อาจทำให้การทำงานของไตเสื่อมลงอย่างรวดเร็ว ควรปรึกษาแพทย์ผู้เชี่ยวชาญก่อนกินยาใหม่
ปัจจุบัน ผลิตภัณฑ์ ปู่จิงตัน(PUJINGTUN) สามารถป้องกันและแก้ปัญหา โรคไต
ไตวาย ได้ผลจริง
ปริมาณและราคา 1 ขวดบรรจุ 60 แคปซูล ราคา 900 บาท
อย. เลขที่ 13-1-02950-1-0036
สั่งซื้อและเป็นตัวแทนจำหน่ายที่
คุณ วีระชัย ทองสา โทร.084-6822645
, 085-0250423
ID Line : weerachaicoffee
อีเมล์ weerachai.coffee@hotmail.com
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น