โรคไต การป้องกันและการรักษา ไตมี 2 ข้าง อยู่บริเวณด้านหลัง ใต้ชายโครง บริเวณบั้นเอว มีรูปร่างคล้ายถั่วเหลือง ยาวประมาณ 12เซนติเมตร
ไต ประกอบด้วยหลอดเลือดฝอยมากมาย
เรียกว่า “หน่วยไต” ( nephron ) หน่วยไตจะลดจำนวน
และเสื่อมสภาพตามอายุไข
ไตทำหน้าที่
1 กำจัดของเสีย
2 ดูดซึม และเก็บสารที่เป็นประโยชน์ต่อร่างกาย
3 รักษาสมดุลน้ำของร่างกาย
4 รักษาสมดุลเกลือแร่ของร่างกาย
5 รักษาสมดุลกรดด่างของร่างกาย
6 ควบคุมความดันโลหิต
7 สร้างฮอร์โมน
2 ดูดซึม และเก็บสารที่เป็นประโยชน์ต่อร่างกาย
3 รักษาสมดุลน้ำของร่างกาย
4 รักษาสมดุลเกลือแร่ของร่างกาย
5 รักษาสมดุลกรดด่างของร่างกาย
6 ควบคุมความดันโลหิต
7 สร้างฮอร์โมน
1
กำจัดของเสีย ได้แก่ ยูเรีย
ครีเอดินิน
-เมื่อร่างกายได้รับสารอาหาร จะย่อยสลาย นำส่วนที่เป็นประโยชน์ไปใช้ และปล่อยของเสียออกสู่กระแสเลือด ผ่านมายังไต และถูกขับออกมากับปัสสาวะ
-ขับยา และสารแปลกปลอมอื่น ๆ
2 ดูดซึม และเก็บสารที่เป็นประโยชน์ต่อร่างกายไว้
-สารที่เป็นประโยชน์ต่อร่างกาย จะถูกดูดกลับโดยเซลล์ของหน่วยไต เช่น น้ำ ฟอสเฟด โปรตีน
3 รักษาสมดุลน้ำของร่างกาย
-ถ้าน้ำมีมากเกินความต้องการของร่างกาย ไตจะทำหน้าที่ขับน้ำออกมาทางปัสสาวะ
-ถ้าอยู่ในภาวะขาดน้ำ ไตจะพยายามสงวนน้ำไว้ให้ร่างกาย ปัสสาวะจะมีปริมาณน้อยและเข้มข้น
4 รักษาสมดุลเกลือแร่ของร่างกาย
-ไตที่ปกติจะขับเกลือส่วนเกินได้เสมอ แม้จะรับประทานรสเค็มจัด
-แต่ถ้าเสื่อมสมรรถภาพ ผู้ป่วยจะมีอาการบวมถ้ารับประทานเกลือมากเกินไป
5 รักษาสมดุลกรดด่างของร่างกาย
-ร่างกายจะผลิตกรดทุกวัน จากการเผาผลาญอาหารโปรตีน
-ถ้าไตทำหน้าที่ปกติ จะไม่มีกรดคั่ง
-ถ้าไตเสื่อมสมรรถภาพ ร่างกายจะมีปัสสาวะเป็นกรด
6 ควบคุมความดันโลหิต
-ความดันโลหิตสูง เกิดจากความผิดปกติในการควบคุมสมดุลน้ำ และเกลือ รวมถึงสารบางชนิด
-ผู้ป่วยโรคไต จึงมักมีความดันโลหิตสูง เพราะไตถูกกระตุ้นให้สร้างสารที่ทำให้ความดันสูง
-ถ้าความดันโลหิตสูงมาก ทำให้หัวใจทำงานหนัก หรืออาจเกิดโรคหลอดเลือดสมองตีบ หรือ แตก เป็นอัมพฤกษ์ และอัมพาตได้
7 สร้างฮอร์โมน
-ไต ปกติสามารถสร้างฮอร์โมนได้หลายชนิด
-ถ้าเป็นโรคไต การสร้างฮอร์โมนจะบกพร่องไป
-เมื่อร่างกายได้รับสารอาหาร จะย่อยสลาย นำส่วนที่เป็นประโยชน์ไปใช้ และปล่อยของเสียออกสู่กระแสเลือด ผ่านมายังไต และถูกขับออกมากับปัสสาวะ
-ขับยา และสารแปลกปลอมอื่น ๆ
2 ดูดซึม และเก็บสารที่เป็นประโยชน์ต่อร่างกายไว้
-สารที่เป็นประโยชน์ต่อร่างกาย จะถูกดูดกลับโดยเซลล์ของหน่วยไต เช่น น้ำ ฟอสเฟด โปรตีน
3 รักษาสมดุลน้ำของร่างกาย
-ถ้าน้ำมีมากเกินความต้องการของร่างกาย ไตจะทำหน้าที่ขับน้ำออกมาทางปัสสาวะ
-ถ้าอยู่ในภาวะขาดน้ำ ไตจะพยายามสงวนน้ำไว้ให้ร่างกาย ปัสสาวะจะมีปริมาณน้อยและเข้มข้น
4 รักษาสมดุลเกลือแร่ของร่างกาย
-ไตที่ปกติจะขับเกลือส่วนเกินได้เสมอ แม้จะรับประทานรสเค็มจัด
-แต่ถ้าเสื่อมสมรรถภาพ ผู้ป่วยจะมีอาการบวมถ้ารับประทานเกลือมากเกินไป
5 รักษาสมดุลกรดด่างของร่างกาย
-ร่างกายจะผลิตกรดทุกวัน จากการเผาผลาญอาหารโปรตีน
-ถ้าไตทำหน้าที่ปกติ จะไม่มีกรดคั่ง
-ถ้าไตเสื่อมสมรรถภาพ ร่างกายจะมีปัสสาวะเป็นกรด
6 ควบคุมความดันโลหิต
-ความดันโลหิตสูง เกิดจากความผิดปกติในการควบคุมสมดุลน้ำ และเกลือ รวมถึงสารบางชนิด
-ผู้ป่วยโรคไต จึงมักมีความดันโลหิตสูง เพราะไตถูกกระตุ้นให้สร้างสารที่ทำให้ความดันสูง
-ถ้าความดันโลหิตสูงมาก ทำให้หัวใจทำงานหนัก หรืออาจเกิดโรคหลอดเลือดสมองตีบ หรือ แตก เป็นอัมพฤกษ์ และอัมพาตได้
7 สร้างฮอร์โมน
-ไต ปกติสามารถสร้างฮอร์โมนได้หลายชนิด
-ถ้าเป็นโรคไต การสร้างฮอร์โมนจะบกพร่องไป
ใครมีโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรค
ไต
1. อายุเกิน 60 ปีขึ้นไป ไต จะเริ่มเสื่อม
2. ความดันโลหิตสูง
3. โรคหัวใจ เช่น หลอดเลือดหัวใจตีบ
4. โรคหลอดเลือดสมอง
5. โรคเบาหวาน
6. โรคเก๊าท์
7. โรคไตอักเสบชนิดต่าง ๆ
เช่น โรคไตอักเสบตั้งแต่วัยเด็ก ไตอักเสบ เอส-แอล –อี
โรคไตเป็นถุงน้ำ นิ่ว เนื้องอก หลอดเลือดฝอยอักเสบ
8. มีสมาชิกในครอบครัวเป็นโรคไต
9. โรคทางเดินปัสสาวะอักเสบจากการติดเชื้อ
10. ใช้ยาแก้ปวด หรือสัมผัสสารเคมีบางชนิดติดต่อกันเป็นเวลานาน
1. อายุเกิน 60 ปีขึ้นไป ไต จะเริ่มเสื่อม
2. ความดันโลหิตสูง
3. โรคหัวใจ เช่น หลอดเลือดหัวใจตีบ
4. โรคหลอดเลือดสมอง
5. โรคเบาหวาน
6. โรคเก๊าท์
7. โรคไตอักเสบชนิดต่าง ๆ
เช่น โรคไตอักเสบตั้งแต่วัยเด็ก ไตอักเสบ เอส-แอล –อี
โรคไตเป็นถุงน้ำ นิ่ว เนื้องอก หลอดเลือดฝอยอักเสบ
8. มีสมาชิกในครอบครัวเป็นโรคไต
9. โรคทางเดินปัสสาวะอักเสบจากการติดเชื้อ
10. ใช้ยาแก้ปวด หรือสัมผัสสารเคมีบางชนิดติดต่อกันเป็นเวลานาน
ปัจจุบัน ผลิตภัณฑ์ ปู่จิงตัน(PUJINGTUN) สามารถป้องกันและแก้ปัญหา โรคไต
ไตวาย ได้ผลจริง
ปริมาณและราคา 1 ขวดบรรจุ 60 แคปซูล ราคา 900 บาท
อย. เลขที่ 13-1-02950-1-0036
สั่งซื้อและเป็นตัวแทนจำหน่ายที่
คุณ วีระชัย ทองสา โทร.084-6822645
, 085-0250423
ID Line : weerachaicoffee
อีเมล์ weerachai.coffee@hotmail.com
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น